วันอังคารที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2560

 

วิเคราะห์ปัญหาระบบปรับอากาศรถยนต์

 

 http://www.auto2drive.com/category/%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87-%E0%B9%86-%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%A3%E0%B8%96%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B9%8C/page/7/

 

 

http://www.auto2drive.com/wp-content/uploads/2013/05/%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%96%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B9%8C.jpg

 

*****************************

 เอามาจาก http://auto-air-cool.blogspot.com/p/1.html

 

ใน การตรวจสอบระบบปรับอากาศนอกเหนือจากการตรวจสอบด้วยสายตาแล้ว เกจแมนิโฟลด์ก็เป็นเครื่องมือสำหรับใช้วัดค่าความดันของระบบทั้งทางด้านความ ดันต่ำและความดันสูง ซึ่งค่าความดันที่ได้เราสามารถนำมาวิเคราะห์หาสาเหตุต่างๆที่เกิดขึ้นกับ ระบบปรับอากาศได้ เพราะบางครั้งอุปกรณ์ที่เกิดการชำรุดเสียหาย ช่างที่ทำการตรวจสอบไม่สามารถมองเห็นด้วยสายตา ฉะนั้นจึงได้นำค่าความดันน้ำยาที่ผิดปกติบ่อยครั้งมาเป็นตัวอย่างเพื่อให้ เป็นแนวทางในการวิเคราะห์ข้อขัดข้อง

Image result for เอ็กซ์แพนชั่นวาล์ว

    ปัญหาและข้อขัอข้องโดยใช้เกจแมนิโฟร์ตรวจสอบ 

1*น้ำยาในระบบน้อยหรือรั่ว
2*มีอากาศในระบบ
3*ชาร์จน้ำยาเข้าระบบไม่เพียงพอ
4*คอมเพรสเซอร์ชำรุด
5*ขัดข้องที่คอนเดนเซอร์
6*มีความชื้นในระบบ
7*ขัดข้องที่เอ็กซ์แพนชั่นวาล์ว
8*น้ำยามีสิ่งแปลกปลอม
9*ขัดข้องที่เทอร์โมสตัท


 ///////////////////////////////////////////////////////

 1*น้ำยาในระบบน้อยหรือรั่ว

 ค่าความดันเกจแมนิโฟลด์
ด้านความดันต่ำ     มีค่าความดันต่ำกว่าเกณฑ์ปกติ
ด้านความดันสูง     มีค่าความดันต่ำกว่าเกณฑ์ปกติ
ระบบมีความผิดปกติ
1. ความเย็นน้อย
2. ค่าความดันต่ำมีค่าต่ำกว่าเกณฑ์
3. ค่าความดันสูงมีค่าต่ำกว่าเกณฑ์
4. ลมที่ออกจากช่องลมไม่มีความเย็น
5. ที่กระจกมองน้ำยาใส
สาเหตุ
ในระบบปรับอากาศมีน้ำยาเหลืออยู่น้อย ซึ่งอาจเกิดรอยรั่วที่จุดใดจุดหนึ่ง
การแก้ไข
1. ตรวจสอบรอยรั่ว เมื่อพบจุดรั่วทำการซ่อมแซมที่รั่วตามลักษณะที่พบ
2. ทำสุญญากาศ แล้วทำการชาร์จน้ำยาเข้าระบบ มีอากาศในระบบ


***********************************************************
2*มีอากาศในระบบ

 ค่าความดันเกจแมนิโฟลด์ 
ด้านความดันต่ำ     มีค่าความดันมากกว่าเกณฑ์ปกติ
ด้านความดันสูง     มีค่าความดันมากกว่าเกณฑ์ปกติ
ระบบมีความผิดปกติ
1. สามารถลดความดันน้ำยาทางด้านความดันสูงได้ โดยใช้พัดลมเป่าระบายความร้อนช่วย
2. ไม่มีฟองอากาศที่กระจกมองน้ำยา
3. ขณะระบบปรับอากาศทำงานท่อทางดูดจะเย็น
4. อากาศที่ถูกเป่าผ่านอิวาพอเรเตอร์จะเย็นจัด
สาเหตุ
มีอากาศและความชื้นภายในระบบ
การแก้ไข
1. ตรวจสอบรอยรั่ว ปล่อยน้ำยาออกจากระบบ
2. ถอดเปลี่ยนรีซีฟเวอร์ดรายเออร์
3. ตรวจระดับน้ำมันคอมเพรสเซอร์
4. ทำสุญญากาศในระบบ ชาร์จน้ำยาใหม่ ชาร์จน้ำยาเข้าระบบไม่เพียงพอ



***********************************************************

 3*ชาร์จน้ำยาเข้าระบบไม่เพียงพอ

 ค่าความดันเกจแมนิโฟลด์ 
ด้านความดันต่ำ     มีค่าความดันต่ำกว่าเกณฑ์ปกติ
ด้านความดันสูง     มีค่าความดันต่ำกว่าเกณฑ์ปกติ
ระบบมีความผิดปกติ
1. ความเย็นไม่ดีพอ
2. เห็นฟองอากาศที่กระจกมองน้ำยา
สาเหตุ
ในระบบปรับอากาศมีน้ำยาน้อยเกินไป
การแก้ไข
1. ตรวจสอบรอยรั่ว เมื่อพบจุดรั่วทำการซ่อมแซมที่รั่วตามลักษณะที่พบ
2. วัดระดับน้ำมันคอมเพรสเซอร์
3. ทำสุญญากาศ แล้วทำการชาร์จน้ำยาเข้าระบบ คอมเพรสเซอร์ชำรุด



***********************************************************
 4*คอมเพรสเซอร์ชำรุด

 ค่าความดันเกจแมนิโฟลด์ 
ด้านความดันต่ำ    มีค่าความดันสูงกว่าเกณฑ์ปกติ
ด้านความดันสูง    มีค่าความดันต่ำกว่าเกณฑ์ปกติ
ระบบมีความผิดปกติ
1. ความเย็นไม่ดีเท่าที่ควร
2. เข็มเกจสั่นไม่สามารถอ่านค่าที่แน่นอนได้
สาเหตุ
เกิดการรั่วที่คอมเพรสเซอร์หรือลิ้นของคอมเพรสเซอร์
การแก้ไข
1. ถ่ายสารออกจากระบบ ถอดคอมเพรสเซอร์เพื่อทำการตรวจเช็ค
2. เปลี่ยนวาล์วเพลตหรือประเก็นฝาสูบ
3. วัดระดับน้ำมันคอมเพรสเซอร์
4. ถอดเปลี่ยนรีซีฟเวอร์ดรายเออร์
5. ทำสุญญากาศ แล้วทำการชาร์จน้ำยาเข้าระบบ ขัดข้องที่คอนเดนเซอร์


***********************************************************

5* ขัดข้องที่คอนเดนเซอร์

 ค่าความดันเกจแมนิโฟลด์ 
ด้านความดันต่ำ     มีค่าความดันสูงกว่าเกณฑ์ปกติ
ด้านความดันสูง     มีค่าความดันสูงกว่าเกณฑ์ปกติ
ระบบมีความผิดปกติ
1. ไม่มีความเย็น
2. ท่อซักชั่นร้อน
3. เห็นฟองอากาศที่กระจกมองน้ำยา
4. เครื่องยนต์ร้อน
สาเหตุ
การระบายความร้อนที่คอนเดนเซอร์ไม่ดีเท่าที่ควร ซึ่งทำให้ความดันทั้งทางด้านความดันต่ำและความดันสูงมีค่าสูงมาก
การแก้ไข
1. ตรวจสอบความตึงของสายพาน
2. ตรวจสอบคอนเดนเซอร์ว่ามีการอุดตันตามครีบต่างๆหรือไม่ ถ้ามีทำความสะอาด
3. การติดตั้งคอนเดนเซอร์ชิดกับหม้อน้ำมากเกินไป มีความชื้นในระบบ



***********************************************************

 6*มีความชื้นในระบบ

ค่าความดันเกจแมนิโฟลด์
ด้านความดันต่ำ      มีค่าความดันต่ำกว่าเกณฑ์ปกติ
ด้านความดันสูง      มีค่าความดันต่ำกว่าเกณฑ์ปกติ
ระบบมีความผิดปกติ
1. ความเย็นน้อยลง ขณะที่อุณหภูมิของอากาศภายนอกสูงขึ้น
2. ความดันด้านความดันต่ำอาจลดลงถึงสุญญากาศ
3. ลมที่ออกจากอิวาพอเรเตอร์อุ่น
สาเหตุ
สารดูดซับความชื้นเสื่อมคุณภาพทำให้เกิดการอุดตัน
การแก้ไข
1. ถ่ายสารออกจากระบบ
2. เปลี่ยนรีซีฟเวอร์ดรายเออร์
3. ทำสุญญากาศ แล้วทำการชาร์จน้ำยาเข้าระบบ ขัดข้องที่เอ็กซ์แพนชั่นวาล์ว



***********************************************************
7*ขัดข้องที่เอ็กซ์แพนชั่นวาล์ว

ค่าความดันเกจแมนิโฟลด์
ด้านความดันต่ำ     มีค่าความดัน สูง / ต่ำ กว่าเกณฑ์ปกติ
ด้านความดันสูง     มีค่าความดัน ต่ำ / สูง กว่าเกณฑ์ปกติ
ระบบมีความผิดปกติ
ไม่มีการทำความเย็น
สาเหตุ
ลิ้นของเอ็กซ์แพนชั่นวาล์วเปิดกว้างมาก น้ำยาเข้าไปในอิวาพอเรเตอร์มากเกินไป
การแก้ไข
1. ตรวจสอบการทำงานของลิ้นเอ็กซ์แพนชั่นวาล์ว
2. ถอดเปลี่ยนเอ็กซ์แพนชั่นวาล์ว
3. ทำสุญญากาศ แล้วทำการชาร์จน้ำยาเข้าระบบ น้ำยามีสิ่งแปลกปลอม


อ็กซ์แพนชันวาล์ว (Expansion Valve) เอ็กซ์แพนชันวาล์ว (Expansion Valve) : ทำหน้าที่ควบคุมการไหลของน้ำยาแอร์เหลว ที่ผ่านเข้าไปยังอีวาพอเรเตอร์ และลดความดันของสารทำความเย็นให้ต่ำลง จนสามารถระเหยเปลี่ยนสถานะเป็นไอได้ที่อุณหภูมิต่ำๆ ในอีวาพอเรเตอร์

ขอบคุณที่มา : เอ็กซ์แพนชันวาล์ว (Expansion Valve)
เอ็กซ์แพนชันวาล์ว (Expansion Valve) เอ็กซ์แพนชันวาล์ว เอ็กซ์แพนชันวาล์ว (Expansion Valve) เอ็กซ์แพนชันวาล์ว (Expansion Valve) : ทำหน้าที่ควบคุมการไหลของน้ำยาแอร์เหลว ที่ผ่านเข้าไปยังอีวาพอเรเตอร์ และลดความดันของสารทำความเย็นให้ต่ำลง จนสามารถระเหยเปลี่ยนสถานะเป็นไอได้ที่อุณหภูมิต่ำๆ ในอีวาพอเรเตอร์

ขอบคุณที่มา : เอ็กซ์แพนชันวาล์ว (Expansion Valve)
เอ็กซ์แพนชันวาล์ว (Expansion Valve) เอ็กซ์แพนชันวาล์ว เอ็กซ์แพนชันวาล์ว (Expansion Valve) เอ็กซ์แพนชันวาล์ว (Expansion Valve) : ทำหน้าที่ควบคุมการไหลของน้ำยาแอร์เหลว ที่ผ่านเข้าไปยังอีวาพอเรเตอร์ และลดความดันของสารทำความเย็นให้ต่ำลง จนสามารถระเหยเปลี่ยนสถานะเป็นไอได้ที่อุณหภูมิต่ำๆ ในอีวาพอเรเตอร์

ขอบคุณที่มา : เอ็กซ์แพนชันวาล์ว (Expansion Valve)
เอ็กซ์แพนชันวาล์ว (Expansion Valve) เอ็กซ์แพนชันวาล์ว เอ็กซ์แพนชันวาล์ว (Expansion Valve) เอ็กซ์แพนชันวาล์ว (Expansion Valve) : ทำหน้าที่ควบคุมการไหลของน้ำยาแอร์เหลว ที่ผ่านเข้าไปยังอีวาพอเรเตอร์ และลดความดันของสารทำความเย็นให้ต่ำลง จนสามารถระเหยเปลี่ยนสถานะเป็นไอได้ที่อุณหภูมิต่ำๆ ในอีวาพอเรเตอร์

ขอบคุณที่มา : เอ็กซ์แพนชันวาล์ว (Expansion Valve)







Image result for เอ็กซ์แพนชั่นวาล์ว
อ็กซ์แพนชันวาล์ว (Expansion Valve) เอ็กซ์แพนชันวาล์ว (Expansion Valve) : ทำหน้าที่ควบคุมการไหลของน้ำยาแอร์เหลว ที่ผ่านเข้าไปยังอีวาพอเรเตอร์ และลดความดันของสารทำความเย็นให้ต่ำลง จนสามารถระเหยเปลี่ยนสถานะเป็นไอได้ที่อุณหภูมิต่ำๆ ในอีวาพอเรเตอร์

ขอบคุณที่มา : เอ็กซ์แพนชันวาล์ว (Expansion Valve)
เอ็กซ์แพนชันวาล์ว (Expansion Valve) เอ็กซ์แพนชันวาล์ว เอ็กซ์แพนชันวาล์ว (Expansion Valve) เอ็กซ์แพนชันวาล์ว (Expansion Valve) : ทำหน้าที่ควบคุมการไหลของน้ำยาแอร์เหลว ที่ผ่านเข้าไปยังอีวาพอเรเตอร์ และลดความดันของสารทำความเย็นให้ต่ำลง จนสามารถระเหยเปลี่ยนสถานะเป็นไอได้ที่อุณหภูมิต่ำๆ ในอีวาพอเรเตอร์

ขอบคุณที่มา : เอ็กซ์แพนชันวาล์ว (Expansion Valve)
เอ็กซ์แพนชันวาล์ว (Expansion Valve) เอ็กซ์แพนชันวาล์ว เอ็กซ์แพนชันวาล์ว (Expansion Valve) เอ็กซ์แพนชันวาล์ว (Expansion Valve) : ทำหน้าที่ควบคุมการไหลของน้ำยาแอร์เหลว ที่ผ่านเข้าไปยังอีวาพอเรเตอร์ และลดความดันของสารทำความเย็นให้ต่ำลง จนสามารถระเหยเปลี่ยนสถานะเป็นไอได้ที่อุณหภูมิต่ำๆ ในอีวาพอเรเตอร์

ขอบคุณที่มา : เอ็กซ์แพนชันวาล์ว (Expansion Valve)
เอ็กซ์แพนชันวาล์ว (Expansion Valve) เอ็กซ์แพนชันวาล์ว เอ็กซ์แพนชันวาล์ว (Expansion Valve) เอ็กซ์แพนชันวาล์ว (Expansion Valve) : ทำหน้าที่ควบคุมการไหลของน้ำยาแอร์เหลว ที่ผ่านเข้าไปยังอีวาพอเรเตอร์ และลดความดันของสารทำความเย็นให้ต่ำลง จนสามารถระเหยเปลี่ยนสถานะเป็นไอได้ที่อุณหภูมิต่ำๆ ในอีวาพอเรเตอร์

ขอบคุณที่มา : เอ็กซ์แพนชันวาล์ว (Expansion Valve)
เอ็กซ์แพนชันวาล์ว (Expansion Valve) เอ็กซ์แพนชันวาล์ว เอ็กซ์แพนชันวาล์ว (Expansion Valve) เอ็กซ์แพนชันวาล์ว (Expansion Valve) : ทำหน้าที่ควบคุมการไหลของน้ำยาแอร์เหลว ที่ผ่านเข้าไปยังอีวาพอเรเตอร์ และลดความดันของสารทำความเย็นให้ต่ำลง จนสามารถระเหยเปลี่ยนสถานะเป็นไอได้ที่อุณหภูมิต่ำๆ ในอีวาพอเรเตอร์

ขอบคุณที่มา : เอ็กซ์แพนชันวาล์ว (Expansion Valve)
***********************************************************


 8*น้ำยามีสิ่งแปลกปลอม

ค่าความดันเกจแมนิโฟลด์
ด้านความดันต่ำ      มีค่าความดันสูงกว่าเกณฑ์ปกติ
ด้านความดันสูง      มีค่าความดันสูงกว่าเกณฑ์ปกติ
ระบบมีความผิดปกติ
1. เกิดฟองอากาศที่กระจกมองน้ำยา
2. ความเย็นไม่ดีพอ
สาเหตุ
มีอากาศและความชื้นในระบบปรับอากาศ   ทำให้น้ำยาเปลี่ยนสภาพเป็นกรด
การแก้ไข
1. ถ่ายสารทำความเย็นออกจากระบบ
2. ถอดเปลี่ยนรีชีฟเวอร์ดรายเออร์
3. ทำสุญญากาศ แล้วทำการชาร์จน้ำยาเข้าระบบ


 ***********************************************************

 9*ขัดข้องที่เทอร์โมสตัท

ค่าความดันเกจแมนิโฟลด์ 
ด้านความดันต่ำ      มีค่าความดัน สูง / ต่ำ กว่าเกณฑ์ปกติ
ด้านความดันสูง      มีค่าความดัน สูง กว่าเกณฑ์ปกติ / ปกติ
ระบบมีความผิดปกติ
แมกเนติกส์คลัตช์ตัด - ต่อ อยู่ตลอด
สาเหตุ
เทอร์โมสตัทขัดข้องทำให้แมกเนติกส์คลัตช์ตัด - ต่อ อย่างรวดเร็ว
การแก้ไข
1. ดับเครื่องยนต์ ปิดระบบปรับอากาศ
2. ถอดเทอร์โมสตัทออก เปลี่ยนใหม่ และกระเปาะรับความร้อนจะต้องติดตั้งไว้ในตำแหน่งเดิม



 ***********************************************************


เอามาจาก  http://com-air.blogspot.com/2009/06/2.html

2 วิธี ตรวจสอบปริมาณของสารทำความเย็น

การตรวจสอบปริมาณของสารทำความเย็น มีด้วยกัน 2 วิธี

ตรวจสอบแรงดันของสารทำความเย็นภายใต้เงื่อนไขดังข้างล่างต่อไปนี้

• ติดเครื่องยนต์เร่งความเร็วรอบ 1,500 รอบ/นาที

• เปิดสวิตช์พัดลมไปที่ความเร็ว "HI"

• เปิดสวิตช์ A/C

• เลือกปรับตัวควบคุมอุณหภูมิไปที่ "MAX COOL" (เย็นสุด)

• ปิดประตูรถทั้งหมด
วิธีที่ 1. ตรวจดูสารทำความเย็นที่กระจกมองน้ำยา ตรวจเช็คสารทำความเย็นโดยสังเกตการไหลของสารทำความเย็นที่กระจกมองน้ำยา




A.สารทำความเย็นเหมาะสม มีฟองอากาศเล็กน้อยนั่นหมายความว่าปริมาณสารทำความเย็นในระบบพอดี



B.สารทำความเย็นไม่เพียงพอ มีฟองอากาศอย่างต่อเนื่องนั่นหมายความว่าปริมาณสารทำความเย็นในระบบมีน้อยเกินไป
C.ไม่มีสารทำความเย็น หรือมีมากเกินไป ไม่มีฟองอากาศนั่นหมายความว่าไม่มีสารทำความเย็นในระบบหรือเติมสารทำความเย็นมากเกินไป

ข้อ แนะนำ: • โดยทั่วไป จำนวนของฟองอากาศที่มากจะยังมองว่ามีสารทำความเย็นไม่เพียงพอ แต่ถ้าสังเกตุไม่พบฟองมากไป แสดงว่ามีสารทำความเย็นพอดีแต่ถ้ามองจากกระจกมองน้ำยาแล้วไม่มีฟอง แสดงว่าปริมาณของสารทำความเย็นไม่มีหรือมีสารทำความเย็นมากเกินไป

• สำหรับคอนเดนเซอร์ ชนิด sub-cooling ต้องเติมสารทำความเย็นสักเล็กน้อยหลังจากถึงจุดที่ฟองหายไป ด้วยเหตุนี้อาจทำให้ตัดสินไปว่าเป็นปกติได้ ทั้งๆที่ปริมาณสารทำความเย็นน้อยกว่าค่ากำหนด

• ฟองอากาศอาจเกิดขึ้นได้ แม้ว่าจะมีปริมาณสารทำความเย็นที่เหมาะสมแล้ว ซึ่งนี่เป็นผลจากการหมุนและสภาพความดันของสารทำความเย็น



วีธีที่ 2. ตรวจสอบระบบทำความเย็นโดยใช้ชุดแมนนิโฟลด์เกจ


1. แรงดันทางด้าน LO ต่ำ

• มีความชื้นเข้าไปในระบบปรับอากาศ

2. แรงดันที่เกจวัดทั้งสองด้านอ่านค่าได้ต่ำ

• ปริมาณสารทำความเย็นในระบบไม่เพียงพอ

• ปริมาณสารทำความเย็นในระบบรั่ว

3. แรงดันที่เกจวัดทั้งสองด้านจะอ่านค่าได้สูง

• มีปริมาณของสารทำความเย็นในระบบมากเกินไป

• การระบายความร้อนของคอนเดนเซอร์ไม่เพียงพอ

4. แรงดันที่เกจวัดด้านความดันต่ำจะอ่านค่าได้สูง และ แรงดันที่เกจวัดด้านความดันสูงจะอ่านค่าได้ต่ำ

• เกิดการรั่วในคอมเพรสเซอร์ของระบบปรับอากาศ


ค่าแรงดันที่แสดงบนชุดแมนิโฟลด์เกจ ค่าแรงดันที่กำหนด:

• ด้านแรงดันต่ำ 0.15-0.25 MPa(1.5-2.5 กก/ซม², 21-36 ปอนด์/นิ้ว ²)

• ด้านแรงดันสูง 1.37-1.57 MPa(14-16 กก/ซม², 199-228 ปอนด์/นิ้ว²)



ข้อแนะนำ: ค่าแรงดันที่แสดงที่เกจอาจมีการเปลี่ยนแปลงเล็กน้อยขึ้นอยู่กับอุณหภูมิของอากาศภายนอก
****************************************************************

 เอามาจาก https://www.slideshare.net/prathompromsombat/ss-22575663


การตรวจสอบ-ปัญหาระบบแอร์

ระบบระบบความเย็นเป็นปกติความเย็นเป็นปกติ
LOW 18-36psi/ HIGH 213-242 psi

สารทำาความเย็นน้อยเกินไปสารทำาความเย็นน้อยเกินไป
LOW 18 psi / HIGH 113-142 

สารทำาความมากเกินไปสารทำาความมากเกินไป
LOW 36-43 psi / HIGH 327 psi

EXPANSION VALVEEXPANSION VALVE อุดตันอุดตัน
LOW 0 psi / HIGH 71-85 psi

 COMPESSERCOMPESSER ไม่มีกำาลังอัดไม่มีกำาลังอัด
LOWสูงกว่าปกติสูงกว่าปกติ // HIGHตำ่ากว่าปกติตำ่ากว่าปกติการวิเคราะห์ด้วยเครื่องมือแมนิโฟร์เกจ  



https://image.slidesharecdn.com/random-130606213332-phpapp02/95/-9-638.jpg?cb=1370554453

**********************************************************************


เสริม  เอามาจาก 

http://oknation.nationtv.tv/blog/anurakair/2014/03/24/entry-1  

ขอบคุณมากมายครับ...
 


เดือนนี้อากาศร้อน รถยนต์หลายคันปกติใช้งานเป็นประจำ ในเส้นทางระหว่างบ้านไปที่ทำงาน
ขับระยะสั้นๆ1-2 ชั่วโมงก็จอด เลิกงานกลับบ้าน 1-2 ชั่วโมงจอด ไปห้างเสาร์-อาทิตย์ 1-2 ชั่วโมงจอด
ส่วนมากช่วงเวลาที่แดดร้อนๆ รถจะจอดที่ทำงาน หรือในห้าง ระบบแอร์รถยนต์หลายคันไม่ได้
ใช้งานหนักตอนแดดร้อนตอนกลางวัน ก็ไม่แสดงอาการงอแง เรียกร้องความสนใจจากเจ้าของรถ
ข้บรถไปโชว์รูมส่วนใหญก็เช็คเครื่องยนต์ ถ่ายของเหลว ตามระยะที่กำหนด เช็ครถวิ่งทางไกล
ก็เช็ค น้ำมันเครื่อง น้ำมันเกียร์ น้ำมันเฟื่องท้าย น้ำมันเบรก น้ำปัดน้ำฝน ใบปัดน้ำฝน หลอดไฟรอบคัน
น้ำกลั่น ลมยาง หากไม่แจ้งเช็คระบบแอร์ ก็จะได้รับบริการเพียงแต่ล้างแอร์แบบไม่ถอดตู้ อบโอโซน
วันนี้ขอแนะนำเจ้าของรถที่จะหยุดยาว อาจใช้รถไปเที่ยวต่างจังหวัด วิ่งฝ่าเปลวแดดร้อนๆ รถติดๆ
ได้เตรียมตัวตรวจเช็คการทำงานระบบแอร์แต่เนินๆ ป้องกันระบบแอร์เสียกลางทาง รถจอดเสียข้างถนน
ต้องยืนตากแดดร้อนๆ รอรถมายก มาลากไปอู่ หรือศูนย์บริการ หมดสนุก เสียเงินค่ารถสไลด์ เสียเงิน
ค่าซ่อมรถอีก กลับมาทำงานไม่ทันอีก ลองมาเช็คระบบแอร์จากง่ายไปหายากดูกันครับ

 ดูตารางการตรวจเช็คระบบแอร์รถยนต์ ประกอบการวางแผนตรวจเช็ครถก่อนเดินทางไกล

 ฟิลเตอร์แอร์รถยนต์ กรองฝุ่นไม่ให้เข้าตู้แอร์ นั่งในรถอากาศดีหายใจสบายปอด ควรเปลี่ยนบ้างครับ

 ภาพกล่องตู้แอร์ที่ไม่ได้ใส่ฟิลเตอร์กรองฝุ่น ฝุ่นจะเยอะแบบนี้

 ภาพตู้แอร์รถยนต์ ที่ไม่ใส่ฟิลเตอร์แอร์รถยนต์ ฝุ่นเกาะอุดตัน หายใจรับฝุ่นทุกวัน

 ตู้แอร์สกปรก ลมผ่านได้น้อย แอร์เย็นช้า ลมเย็นกระจายไม่ทั่วห้องโดยสาร เปลื่องน้ำมัน และแก๊ส 

 ควรล้างตู้แอร์รถยนต์ เพื่อการสร้างความเย็นได้เต็มประสิทธิ์ภาพ ลมเย็นสะอาด ป้องกันโรคภูมิแพ้ได้

ใส่ฟิลเตอร์แอร์รถยนต์ ช่วยกรองฝุ่นตู้แอร์ ตู้แอร์จะได้ไม่สกปรกมาก และไม่ผุไว

รถยาริสคันนี้ฟิลเตอร์ตู้แอร์ สกปรกมากๆ ไม่เคยเปลี่ยน รถวิ่งใช้งานมา 1 แสนก่วากิโลเมตร 

โตโยต้ายาริส วิ่งมา 1 แสนก่วากิโลเมตร แนะนำเช็คแอร์ ดูอะไหล่ที่เสื่อมสภาพ

ยาริสคันนี้เปลี่ยน ไดเออร์นิปอนเด็นโซ่ตัวกรองน้ำยาแอร์ ชุดหน้าคลัชมูเล์คอมแอร์เด็นโซ่
สายพานแอร์ เติมน้ำมันคอมแอร์ OIL.8 134a 

ค่าการทำงานคอมแอร์10S  ความร้อนปกติ ได้ความเย็น 6.5 องศา

จอดเดินเบาสักครู่ได้ความเย็น 2.8 องศาเย็นได้อีกนาน และปลอดภัยด้วย ลุยได้ทุกการท่องเที่ยว

ตรวจเช็คกรองฝุ่นตู้แอร์ มีฝุ่นอุดตันแบบนี้ควรเปลี่ยนเลยครับ ลมแอร์จะแรงกระจายได้ทั่วห้องโดยสาร

 ฟิลเตอร์แอร์รถยนต์ คุณภาพดี โครงสร้างแข็งแรงไม่บิดงอง่าย ที่มีจำหน่ายตามร้านแอร์ทั่วไปครับ

กรองฝุ่นตู้แอร์รถยนต์ ของใหม่สะอาด

ฟิลเตอร์แอร์รถยนต์DENSO GOOL GEARทำหน้าที่กรองฝุ่นก่อนเข้าตู้แอร์ ของใหม่จะสะอาดขาวแบบนี้

สภาพสายพานรถยนต์ที่หมดอายุการใช้งาน อาจมีเสียงดัง และพร้อมขาดได้หากวิ่งทางไกล ทางยาวๆ 

คันนี้เช็คเปลี่ยนชุดหน้าคลัชคอมD-MAX สายพานเรียบร้อย เพราะสายพานพ่วงพาวเวอร์พวงมาลัยด้วย

สายพานรถยนต์ บางคันสามารถมองเห็นได้ง่ายแบบนี้ แตกชัดเจน

สายพานรถยนต์ของใหม่ร่องจะชิดไม่ห่าง ใส่แล้วเครื่องยนต์เงียบด้วยครับ

สภาพสายพานก่อนเปลี่ยนร่องห่าง เช็คลูกลอกเครื่องยนต์
 ควรปลดสายพานออกเพื่อตรวจเช็คเสียงการทำงานของลูกปืนลูกลอกตั้ง และดันสายพาน 

 รถยนต์รุ่นใหม่ จะใช้สายพานเส้นเดียวในการหมุนขับเคลื่อนการทำงานระบบแอร์ ได และเครื่องยนต์
 ลองหมุนเช็คลูกปืนมูเล์คอมแอร์ หากเสียงดังควรเปลี่ยนทันที่ ถ้าวิ่งใช้งานคอมแอร์มีสิทธิ์ไหม้ได้

 รูปชุดหน้าคลัชมูเล์คอมแอร์ที่ไหม้ เกิดจากจารบีลูกปืนแห้ง แผ่นหน้าเหล็กไหม้แดง เกรียมๆ

คอมแอร์D-MAX ลูกปืนร้อนคอมล็อค์ ต้องเปลี่ยนคอมแอร์ใหม่ 1 ลูก ถ้าเช็คลูกปืนก่อน คอมไม่เสีย

เทน้ำมันคอมแอร์ยังใสอยู่ แต่ความร้อนจากมูเล์สายพานสูงคอมล็อค์ไปแล้ว ควรเช็คแอร์บ้าง

ควรเช็คความแรงของพัดลมหม้อน้ำ ว่าลมแรงเท่ากันไหม มีเสียงผิดปกติหรือเปล่าก่อนเดินทาง

ค่าความร้อนระบบแอร์สูงก่วาปกติ ควรเข้าร้านแอร์วัดค่าความร้อนของระบบแอร์ทุกปี
เพราะพัดลมอาจหมุนเบาลง หรืออุปกรณ์ในระบบแอร์อาจเสื่อมตามอายุรถทำให้ความร้อนแอร์ขึ้นสูง
พอวิ่งออกไปเที่ยวต่างจังหวัดคอมอาจพังได้ เหมือนเอาคนความดันสูงไปทำงานหนัก 

ความร้อนระบบแอร์ขึ้นสูงอาจเกิดจากแผงแอร์รถยนต์ อุดตันอาจต้องถอดแผงออกล้างทำความสะอาด

ล้างแผงให้สะอาดการดูดของพัดลม ระบายดีขึ้นความร้อนระบายได้ดี ในรถก็ได้ความเย็นดีขึ้นด้วย

ใช้เกจ์น้ำยาวัดค่าความร้อนระบบแอร์ปกติ ตามค่านี้ จอดอยู่กับที่แอร์ก็เย็น

สาเหตุที่คอมแอร์รถยนต์พัง ส่วนหนึ่งมาจากลูกปืนมูเล์คอมไหม้ ขณะรถวิ่งทางยาวๆ โดยไม่ได้เช็คก่อน
(ถ้าใช้งานแบบทุกวันวิ่งสั้นๆแล้วจอดไม่เป็นไร)
ชมอีกตัวอย่างการเช็คลูกปืน ในระบบเครื่องยนต์ ลูกลอกตั้งสายพาน ลูกปืนปั้มน้ำ ลูกปืนไดชารจ
คันนี้เช็คไปแล้วแจ้งเจ้าของรถว่าลูกปืนมูเล์คอมดัง (ฟังจากเสียงไม่ได้ถอด)
แต่ไปอีกที่บอกมูเล์เครื่องดัง เจ้าของเลยเปลี่ยน เปลี่ยนแล้วไม่หายดัง  เสียค่ามูเล์ไปเปล่าๆ
สุดท้ายกับมาซ่อมตามที่แนะนำไปตอนแรกครับ โชคยังดีที่เสียเฉพราะชุดหน้าคอม พอซ่อมได้อยู่ครับ
น้ำมันคอมส่วนนี้ก็สำคัญมากๆ ควรตรวจเช็ค

(น้ำมันคอมแอร์รถยนต์จากสีใสๆ ไปเหลืองอ่อน น้ำตาลอ่อน จนน้ำตาลเข้มเริ่มไหม้)
น้ำมันคอมแอร์ก็ควรได้รับการตรวจเช็ค คล้ายๆกับน้ำมันเครื่องยนต์ น้ำมันเบรก น้ำมันเกียร์ และน้ำมัน
เฟื่องท้าย รถใช้งานมานานๆเกินแสนกิโลเมตร ควรถ่ายน้ำยาแอร์ใส่ขวดเพื่อดูสีน้ำมนคอมอย่าปล่อยให้
สีเข้มมากๆจนเริ่มดำ เพราะจะทำให้คอมล็อค เกิดความเสียหายต้องเปลี่ยนคอม หากสีน้ำมันคอม
เริ่มเข้มๆ แอร์ยังเย็นปกติควรล้างระบบแอร์ และเตินน้ำมันคอมใหม่ 

น้ำมันคอมแอร์รถยนต์แบบลูกสูบ และน้ำมันคอมแอร์โรตารี

ควรเลือกน้ำมันคอมแอร์รถยนต์ ให้เหมาะสมกับคอมแต่ละประเภท คอมลูกสูบ คอมโรตารี จะใช้ต่างกัน

คอมแอร์ซันเด็น SD-508 เป็นคอมแอร์แบบ 5 ลูกสูบทำงานด้านเดียว

คอมนิปอนDENSO 10PA แบบ 10ลูกสูบทำงานสลับกัน ทั้ง 2 ข้าง ต้องใช้น้ำมันแบบลูกสูบ ND Oil.8

 คอมแอร์ฮอนด้าCITY แบบโรตารีก้นหอย ใช้น้ำมันคอม SP10 เฉพาะรุ่นของคอม 

 ไดเออร์แอร์รถยนต์ ทำหน้าที่กรองความชื้นและเศษชิ้นส่วนจากการทำงานของคอมแอร์ หากอุดตัน
จะทำให้แอร์เย็นน้อยลง และความชื้นเข้าสู่ตู้แอร์ตู้แอร์จะผุได้ง่าย และแรงดันอาจสูง สายอาจระเบิดได้

ไดเออร์แอร์รถแลนด์โรเวอร์ พรีแลนด์เดอร์ อุดตัน  น้ำมันคอมสีเข้มๆ ต้องล้างระบบในแผงแอร์

ทำการล้างน้ำมันคอมเก่าในแผงแอร์ ด้วยน้ำยา F11 ล้างกันหลายรอบจนก่วาจะใส 

เช็คลูกปืนมูเล์คอมแอร์แลนด์โรเวอร์ พรีแลนด์เดอร์ เริ่มมีสีแดงไหม้ๆเพราะความร้อน
จากการทำงานของคอมแอร์ อย่าประมาทครับ

แลนโรเวอร์ คันนี้ใช้คอมลูกสูบ ระบุให้ใช้น้ำมันคอม Oil 8 134a และบอกปริมาณการเติมน้ำยาไว้ด้วย
(ข้อควรระวังการเลือกใช้น้ำมันคอมให้ตรงรุ่น ตามสเป็คของบริษัทที่ผลิตคอมแอร์ ห้ามใช้ร่วกับชนิดอื่น)

น้ำมันคอมND oil8 134a ทางบริษัทผลิตคอมแอร์ ระบุไว้ในสติ๊กเกอร์รถแต่ล่ะคัน ตามรุ่นที่ประกอบมา

น้ำมันคอมND Oil8 134a ข้อ4.ห้ามผสมกับน้ำมันชนิดอื่น ต้องระวังหากเติมน้ำมันผิดประเภท
ระบบแอร์อาจเสียหาย ภายในระยะเวลาอันใก้ล หลังจากซ่อมแอร์มาได้ไม่นาน น้ำมันคอมอาจดำสกปรก

ควรดูสเป็คน้ำมันคอม 134a ของรถแต่ล่ะรุ่น หรือให้ดูที่คอมแอร์ว่าเป็นคอมลูกสูบ หรือคอมโรตารี 

ภาพตัวอย่างเม็ดเซลิกา สารกรองความชื้นแตกอุดตันในทางเดินน้ำยา เพราะใช้งานมานานแรงดัน
น้ำยาผ่านไม่ได้ สร้างความเสียหายให้ระบบแอร์ ควรเช็คและเปลี่ยนตามระยะเวลาที่ศูนย์บริการแนะนำ

ตัวเอ็กซ์แพนชั่นวาล์ว  Expansion Valve  ทำหน้าที่ ควบคุมการฉีดน้ำยาแอร์เข้าตู้แอร์ มีส่วนในการ
สร้างความเย็น รับงานต่อจากไดเออร์ที่กรองความชื้น ควรเช็คและเปลี่ยนตามระยะเวลา

ภาพตัวอย่างน้ำมันคอมที่ค้างอยู่ที่วาว์ล ออกสีน้ำตาลเข้มๆ ควรล้างระบบเอาน้ำมันเก่าออกให้หมด

 รูปนี้พัดลมแผงแอร์เสีย 1 ตัวความร้อนแอร์ขึ้นคอมพัง ต้องเปลี่ยนไดเออร์ วาว์ล ล้างระบบทำชุดใหญ่

ตรวจเช็ควัดความร้อนแอร์ พัดลมหม้อน้ำหมุนเบาๆ หากเช็คเจอก่อนอาจแค่เปลี่ยนพัดลม 1 ตัว

ซ่อมแอร์HONDA ซีวิค  ควรตรวจเช็คระบบแอร์รถยนต์ ทุกๆ 6 เดือนรถเก่ายิ่งต้องใส่ใจมากๆ

ภาพนี้บอกอุณภูมิรอบๆรถขณะที่ทำการซ่อม และค่าการทำงานทั้งด้านLO และด้านHI สูง ต่ำ ปกติดี

รถวิ่งใช้งานมา 2 แสนก่วา หลังซ่อมได้ความเย็นเหมือนรถใหม่ (ควรถ่ายภาพทำประวัติการซ่อมไว้)
ในภาพนี้บอกค่าความร้อนเครื่องยนต์ปกติ ระยะเลขไมล์ที่ซ่อม ค่าความเย็นที่ซ่อมวันนี้ 
ฝากให้ชาวโอเคได้ลองตรวจเช็ค การทำงานระบบแอร์รถคันโปรด ก่อนพักผ่อนยาวๆพาครอบครัว
เที่ยวเล่นน้ำสงกรานต์ต่างจังหวัด จะได้เตรียมรถรับมืออากาศร้อนๆ และในบ้างครั้งฝนอาจตก
ทำให้ในรถเป็นฝ้า แอร์เย็นๆช่วยให้ทุกการเดินทางมีแต่ความสุขครับ ขอให้มีความสุขทุกการเดินทาง

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น